วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาเเบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อารจารย์ผู้สอน อ.กฤต แจ่มถิน
ประจำวัน พุธที่ 20 มกราคม 2559
เรียนครั้งที่ เวลา 08.30 -12.30 น.
กลุ่มเรียน 102 ห้องเรียน 224
เด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
ความหมายของเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
1. ทางการแพทย์ มักจะเรียกเด็กที่มีความต้องการพิเศษว่า "เด็กพิการ"
หมายถึง เด็กที่มีความผิดปกติ มีความบกพร่อง สูญเสียสมรรถภาพ อาจะเป็นความผิดปกติ ความบกพร่องทางกาย การสูญเสียสมรรถภาพทางสติปัญญา ทางจิตใจ
2. ทางการศึกษา หมายถึง เด็กที่มีความต้องการทางการศึกษาเฉพาะของตัวเอง ซึ่งจำเป็นต้องจัดการศึกษาให้ต่างไปจากเด็กปกติทางด้านเนื้อหา หลักสูตร กระบวนการที่ใช้ และการประเมินผล
สรุปได้ว่าเด็กที่มีความต้องการพิเศษ หมายถึง
- เด็กที่ไม่อาจพัฒนาความสามารถได้เท่าที่ควรจากการให้การช่วยเหลือ และการสอนตามปกติ
- มีสาเหตุจากสภาพความ บกพร่องทางร่างกาย สติปัญญา และอารมณ์
- จำเป็นต้องได้รับการกระตุ้น ช่วยเหลือ การบำบัด และฟื้นฟู
- จัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับลักษณะและความต้องการของเด็กแต่ละบุคคล
พัฒนาการ
- การเปลี่ยนแปลงในด้านการทำหน้าที่และวุฒิภาวะของอวัยวะต่าง ๆ รวมทั้งตัวบุคคล
- ทำให้สามารถทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นเด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ
- เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้ากว่าเด็กปกติในวัยเดียวกัน
- พัฒนาการล่าช้าอาจพบเพียงด้านใดด้านหนึ่ง หลายด้าน หรือทุกด้าน
- พัฒนาการล่าช้าในด้านหนึ่งอาจส่งผลให้พัฒนาการในด้านอื่นล่าช้าด้วยเช่นกัน
- ปัจจัยด้านชีวภาพ
- ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมก่อนคลอด
- ปัจจัยด้านกระบวนการคลอด
- ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมหลังคลอด
ทำให้ สาเหตุที่เกิดความบกพร่องทางพัฒนาการ
- เด็กจะมีพัฒนาการล่าช้ามาตั้งแต่เกิดหรือสังเกตได้ชั่วระยะไม่นานหลังเกิดมักมีลักษณะผิดปกตแต่กำเนิดร่วมด้วย เช่น Cleft Lip/Cleft Palate (ปากแหว่งเพดานโหว่), Albinism (เผือก), Neurofibromatosis (ท้าวแสนปม)
2. โรคของระบบประสาท
- เด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนกาการส่วนใหญ่มักมีอาการหรืออาการแสดงทางระบบประสาทร่วมด้วย ที่พบบ่อยคืออาการชัก
3. การติดเชื้อ
- การติดเชื้อตั้งแต่อยู่ในครรภ์ น้ำหนักตัวแรกเกิดน้อย ศรีษะเล็กกว่าปกติ อาจมีตับม้ามโต การได้ยินบกพร่อง ต้อกระจก
- นอกจากนี้การติดเชื้อรุนแรงภายหลังเกิด เช่น สมองอักเสบ เยื้อหุ้มสมองอักเสบ เป็นสาเหตุที่พบได้บ้าง
4. ความผิดปกติเกี่ยวกับเมตาบอลิซึม
- โรคที่ยังเป็นปัญหาสาธารณะสุขไทย คือ ไทยรอยด์ฮอร์โมนในเลือดต่ำ
5. ภาวะแทรกซ้อนระยะแรกเกิด
- การเกิดการกำหนด หน้ำหนักตัวแรกเกิดน้อย และภาวะขาดออกซิเจน
6. สารเคมี
- ตะกั่วเป็นสารที่มีผลกระทบต่อเด็กและมีการศึกษามากที่สุด
- มีอาการซึมเศร้า เคลื่อนไหวช้า ผิวดำหมองคล้ำเป็นจุด ๆ
- ภาวะตับเป็นพิษ
- ระดับสติปัญญาต่ำ
แอลกอฮอล์
- มีน้ำหนักแรกเกิดน้อย
- มีอัตาการเพิ่มน้ำหนักหลังเกิดน้อย ศีรษะเล็ก
- พัฒนาการของสติปัญญาก็มีความบกพร่อง
- เด็กบกพร่งทางพฤติกรรมและอารมณ์
Fetal alcohol syndrome, FAS
- ช่องตาสั้น
- ร่องริมฝีปากบนเรียบ
- ริมฝีปากบนยาวและบาง
- หนังคลุมหัวตามาก
- จมูกแบน
- ปลายจมูกเชิดขึ้น
นิโคติน
- น้ำหนักแรกเกิดน้อย ขาดสารอาหารในระยะตั้งครรภ์
- เพิมอัตราการตายในวัยทารก
- สติปัญญาบกพร่อง
- สมาธิสั้น พฤติกรรมก้าวร้าว มีปัญหาด้สนการเข้าสังคม
7.การเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสมรวมทั้งการขาดสารอาหาร
8.สาเหตุอื่น ๆ
- อุบัติเหตุ
อาการของเด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ
เมื่อซักประวัติแล้วจะสามารถบอกได้ว่า
4. การประเมินพัฒนาการ
การประเมินที่ใช้เวชปฏิบัติ
ความรู้ที่ได้รับ
- มีพัฒนาการล่าช้าซึ่งอาจจะพบมากกว่า 1 ด้าน
- ปฏิกิริยาสะท้อน (primitive reflex) ไม่หายไปแม้จะถึงช่วงอายุที่ควรหายไป ซึ่งจะหายไปในช่วงอายุ 1 ปี
แนวทางการวินิจฉัยเด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ
1. การซักประวัติ
- โรคประจำตัว โรคทางพันธุกรรม
- การเจ็บป่วยในครอบครัว
- ประวัติฝากครรภ์
- ประวัติเกี่ยวกับการคลอด
- พัฒนาการที่ผ่านมา
- การเล่นตามวัย การช่วยเหลือตนเอง
- ปัญหาพฤติกรรม
- ประวัติอื่น ๆ
- ลักษณะพัฒนาการล่าช้าเป็นแบบคงที่ หรือถดถอย
- เด็กมีระดับพัฒนาการล่าช้าหรือไม่ อย่างไร อยู่ในระดับไหน
- มีข้องบ่งชี้ว่ามีสาเหตุจากโรคทางพันธุกรรมหรือไม่
- สาเหตุของความบกพร่องทางพัฒนาการนั้นเกิดจากอะไร
- ขณะนี้เด็กได้รับการช่วยเหลือและฟื้นฟูอย่างไร
2. การตรวจร่างกาย
- ตรวจร่างกายทั่ว ๆ ไปและการเจริญเติบโต
- ภาวะตับม้ามโต
- ผิวหนังระบบประสาทและวัดอบศีรษะด้วยเสมอ
- ดูลักษณะของเด็กที่ถุกทารุณกรรม (child abuse)
- ระบบการมองเห็นและการได้ยิน
3.การสืบค้นทางห้องปฏิบัติการ
4. การประเมินพัฒนาการ
- การประเมินแบบไม่เป็นทางการ
- แบบทดสอบ Denver ll
- Gesell Drawing Test
- แบบประเมินพัฒนาการเด็กตามคู่มือส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุแรกเกิด-5ปี สถาบันราชานุกูล
- ได้รับความรู้ในเรื่องของเด็กที่มีความต้องการพิเศษในเรื่องที่เรายังไม่เคยรู้ เช่น ความหมาย พฤติกรรมต่างๆ ประเภทของเด็กพิเศษ ปัจจัยที่ทำให้เกิดเด็กพิเศษ รวมไปถึง แนวทางการวินิจฉัยเด็กที่มีความบอกพร่องทางพัฒนาการ
ประเมินเพื่อนร่วมห้อง
- เพื่อนมีความตั้งใจเรียน มีความพร้อมในการเรียน แต่มีบางส่วนที่ยังพูดคุยระหว่างเรียนเล็กน้อย
ประเมินอาจารย์
- อาจารย์แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีเทคนิคการสอนที่หลากหลาย มีกิจกรรมให้นักศึกษาได้ทำ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น